Lab ENE324 Group5

รูปภาพของฉัน
นายณัฐนัย สุพันธุ์วณิช 55070502467 // นายธนนนท์ มานะชัยมงคล 55070502469 // นายธนวัฒน์ ลิ่มทองพิพัฒน์ 55070502470 // นายธีรภัทร เขษมเวสารัชวุฒิ 55070502471 // นางสาวกุณชญา เอกศิริพงษ์ 55070502472 // นายปฐวี อินทุยศ 55070502474 // นายปัณณวิชญ์ สิทธิญาวณิชย์ 55070502475 // นายพีรวิชญ์ ปฏิเวชปัญญา 55070502477 // นายภัทรกนิษฐ์ วงศ์บา 55070502478

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Antenna Radiation Pattern Measurement


การทดลองเรื่อง : Antenna Radiation Pattern Measurement


10953985_10205244637388574_6265484273561282555_n.jpg


วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาวิธีการใช้งานเครื่องวิเคราะห์แถบความถี่ในการวัดสัญญาณ
                      2. ศึกษาตัวแปรต่างๆในการรับสัญญาณของสายอากาศ
                      3. เพื่อศึกษารูปแบบการแพร่กระจายของคลื่น


อุปกรณ์การทดลอง :
1. สายอากาศแบบ Parabolic และ slot
2. ออสซิเลเตอร์แบบ Dielectric Resonant Oscillator ความถี่ 5.8 GHz
3. Spectrum Analyzer
4. สายนำสัญญาณ
5. เครื่องหมุนสายอากาศและวัดมุม
6. Power Supply
      


10959378_10205244642188694_1737225875848695194_n.jpg 10612795_10205244637108567_3515270219211619866_n.jpg
                      power supply                                          spectrum analyzer


10953985_10205244637388574_6265484273561282555_n.jpg 10629739_10205244637708582_1833483179475711816_n.jpg
   จานรับสัญญาณแบบ parabolic                    สายอากาศแบบ slot


10959863_10205244636788559_3232624843586419687_n.jpg
       เครื่องหมุนสายอากาศและวัดมุม


ขั้นตอนการทดลอง :




1. ติดต้ังอุปกรณ์รับสัญญาณ และส่งสัญญาณ ที่ความถี่ 5.8 GHz โดยใช้แรงดันไฟเลี้ยง 5V 
2. ทดลองส่งสัญญาณ 5.8 MHz โดยต้ังระนาบจานส่งสัญญาณแบบ Parabolic ในระนาบ vertical และ ตั้งจานรับสัญญาณในระนาบ vertical
3. วัดสัญญาณจากมุม 0 องศา จนถึงมุม 180 องศา(เพิ่มขึ้นทีละ 5 องศา) และบันทึกค่าแอมปลิจูดของยอดคลื่นลงในตารางที่ 1
4. วาดกราฟความสัมพันธ์ Front to back Ration (F/B) ของสัญญาณ กับค่ามุมที่จานรับสัญญาณหมุนไป ในรูปแบบ Polar และ Rectangular โดยเทียบจุดที่มีค่าแอมปลิจูดสูงสุดให้เป็น 0 dB แล้ว มุมอื่นมีค่า ลดลงเป็นสัดส่วนตามลำดับ
5. เปลี่ยนการต้ังระนาบจานส่งสัญญาณแบบ Parabolic จากระนาบ vertical เป็นระนาบ Horizontalและ จานรับสัญญาณแบบรับในระนาบ Horizontal และ Vertical โดยการหมุนจานรับสัญญาณจากมุม 0 องศา จนถึงมุม 180 องศา บันทึกค่าแอมปลิจูดของยอดคลื่นลงในตาราง
6. เปลี่ยนไปใช้สายอากาศแบบ Slot ( ส่งในระนาบ Horizontal ) บันทึกผลการทดลอง พร้อมวาดกราฟ การแพร่กระจายคลื่น และแสดงFront to back Ration (F/B) ของสายอากาศ





ผลการทดลอง: ตารางที่ 1 ความแรงสัญญาณ (dBm)รับด้วย Vertical Pol. และ Horizontal Pol.

Angle(dBm)
Horizontal polarization
Level (dBm)
Vertical polarization
Level (dBm)
0
-42.89
-60.1
5
-45.98
-66.34
10
-63.45
-78.1
15
-63.60
-77.45
20
-64.4
-77.5
25
-71.5
-84.8
30
-72.22
-85.5
35
-74.57
-84.35
40
-73.8
-85.67
45
-67.71
-81.47
50
-65.08
-80.6
55
-68.44
-83.1
60
-76.07
-85.48
65
-68.58
-82.47
70
-68.22
-81.54
75
-70.79
-83.0
80
-72.43
-84
85
-73.78
-84.5
90
-69.74
-84.2
95
-70.87
-84.7
100
-68.85
-82.99
105
-71.61
-83.2
110
-73.54
-85.6
115
-75.04
-86.3
120
-71.18
-84.6
125
-74.69
-86.0
130
-74.28
-85.0
135
-75.71
-86.0
140
-78.39
-85.6
145
-72.45
-89.22
150
-78.59
-91.6
155
-78.92
-88.9
160
-70.49
-89.53
165
-76.9
-81.51
170
-77.04
-79.74
175


180


185


190


195


200
-69.69
-83.2
205
-77.25
-84.4
210
-72.85
-86.7
215
-74.19
-87.98
220
-79.41
-85.15
225
-84.44
-86.99
230
-80.65
-85.2
235
-71.19
-86.4
240
-74.06
-82.1
245
-69.64
-85.32
250
-72.65
-84.25
255
-71.75
-83.9
260
-71.03
-90
265
-73.51
-86.4
270
-73.5
-85.99
275
-72.67
-89
280
-70.36
-86.0
285
-68.13
-87.7
290
-71.27
-85.23
295
-77.74
-84.93
300
-66.99
-84.06
305
-70.09
-82.4
310
-69.27
-84.3
315
-71.8
-91.7
320
-71.73
-87.9
325
-72.73
-85.215
330
-72.15
-89.84
335
-64.4
-80.5
340
-63.36
-78.24
345
-64.55
-80.73
350
-79.98
-79.26
355
-49.69
-64.68


Horizontal Polarization



Gain = 318.46 dBi F/B = 30 dBm 3db Bandwidth = 10 องศา
First side lobe = 20องศา First null = 10 องศา


Vertical Polarization


Gain = 318.46 dBi F/B = 20 dBm 3db Bandwidth = 10 องศา
First side lobe = 20 องศา First null = 10 องศา


วิจารณ์ผลการทดลอง
1.อุปกรณ์ในการทดลองมีน้อยเกินไปทำให้ผู้ที่ต้องการศึกษาได้ทดลองไม่ทั่วถึง
2.สายอากาศที่ต่อเข้ากับจานรับสัญญาณถ้าหากต่อไม่แน่นจะทำให้คุณภาพสัญญาณเพี้ยนได้
3.หากมีอะไรขวางทางระหว่างตัวส่งสัญญาณและตัวรับสัญญาณ ก็อาจทำให้สัญญาณที่ได้รับนั้นผิดเพี้ยนไปจาก เดิมและถูกลดทอนได้
4.การปรับมุมของจานรับสัญญาณมีผลกระทบต่อสัญญาณที่ได้รับ
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองพบว่าเมื่อทำการรับค่าสัญญาณจากตัวส่งสัญญาณแล้วพลอตกราฟ เราจะเห็นการแพร่กระจายของคลื่นโดยจะประกอบด้วย Main lobe, side lobe, null, back lobe etc. ซึ่งเราสามารถนำกราฟที่ได้มาวิเคราะห์และนำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณได้